ประวัติความเป็นมา
จรรยาบรรณบุคลากรสหกรณ์
” …การทำงานทุกอย่าง ทุกอาชีพ ย่อมจะมีจรรยาบรรณของตนเอง. จรรยาบรรณนั้นจะบัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ตาม แต่ก็เป็นสิ่งที่ยึดถือกันว่าเป็นความดีงาม ที่คนในอาชีพนั้นพึงประพฤติปฏิบัติ. หากผู้ใดล่วงละเมิดก็อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หมู่คณะ และส่วนรวมได้. เหตุนี้ ผู้ปฏิบัติงานในทุกสาขาอาชีพ นอกจากจะต้องมีความรู้ในสาขาของตนอย่างลึกซึ้ง จัดเจนและศึกษาให้ก้าวหน้าอยู่เสมอแล้ว ยังต้องยึดมั่นในจรรยาบรรณในวิชาชีพของตน ทั้งข้อที่ควรปฏิบัติและไม่พึงปฏิบัติอย่างเคร่งครัดด้วย จึงจะสามารถประพฤติปฏิบัติงานให้ประสบความสำเร็จ ได้รับความเชื่อถือยกย่องในเกรียรติ ในศักดิ์ศรี และในความสามารถด้วยประการทั้งปวง… “
(พระราชทานพระบรมราชานุญาต ตามหนังสือ สำนักราชเลขาธิการที่ รล ๐๐๐๔.๑/๔๕๐๖ ลว. ๒๖ ก.พ. ๒๕๕๑) |
จรรยาบรรณ 10 ประการ สำหรับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์
1. มุ่งมั่น และอุทิศตน เพื่อพัฒนาการบริหารงานของสหกรณ์ให้ก้าวหน้า ด้วยความเสียสละ ซื่อสัตย์ และสุจริต โดยยึดมั่นในอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ 5. กำกับ ดูแลการจัดการสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยไม่แทรงแซงสายการบังคับบัญชา แต่จะสร้างความยุติธรรมแก่เจ้าหน้าที่สหกรณ์การในการปฏิบัติงาน 7. ไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่ง หน้าที่ ในสหกณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์ส่วนตน ญาติ และพวกพ้อง |
ที่มา : สมาคมเศรษฐศาสตร์สหกรณ์แห่งประเทศไทย อ้างอิง : Sanpatongcoop.com |
จรรยาบรรณ 10 ประการ สำหรับเจ้าหน้าที่สหกรณ์
|
1. พึงปฏิบัติตามนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์และคำสั่งของผู้บังคับบัญชาอย่างเคร่งครัด ภายใต้อุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ |
ที่มา : สมาคมเศรษฐศาสตร์สหกรณ์แห่งประเทศไทย อ้างอิง : Sanpatongcoop.com |